Disclaimer
ในสัปดาห์ต้นเดือนพฤษภา 2022 เริ่มคำว่า วิกฤต โผล่ขึ้นมาแล้ว เลยไปลองเปิด index ใหญ่ ๆ ดู ในฝั่งสหรัฐฯ พบว่าก็มีการปรับตัวลงมากพอสมควร จาก All Time High ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา
Disclaimer
ในสัปดาห์ต้นเดือนพฤษภา 2022 เริ่มคำว่า วิกฤต โผล่ขึ้นมาแล้ว เลยไปลองเปิด index ใหญ่ ๆ ดู ในฝั่งสหรัฐฯ พบว่าก็มีการปรับตัวลงมากพอสมควร จาก All Time High ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา
Post ขอหยิบเรื่องราวส่วนตัวมาเล่าหน่อย เกี่ยวกับแนวคิด แนวทางการวางแผนการเงินของตัวเองในส่วนของลูกชาย (เซน) ซึ่งอาจจะไม่ใช่ Best Practice แต่ก็คิดว่าน่าจะให้มุมคิดอะไรได้บ้าง ไม่มากก็น้อย กับคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ หรือ ไม่ก็ว่าที่คุณพ่อคุณแม่ล่ะกันครับ 🙂
ช่วงวันหยุดยาวนี้ได้มีเวลาทบทวนตัวเองในบางเรื่อง มีเรื่องนึงที่ได้ลองทบทวนตัวเองแล้วคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ คือ เรื่องความสามารถในการรับความเสี่ยงจากการลงทุน
แต่เดิมผมเองเป็นคนที่รับความเสี่ยงได้ค่อนข้างต่ำมาก คือ หากขาดทุนแล้วจะไม่สบายใจเอามาก ๆ เลย ต้องมีกำไรเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ยังดี เลยทำให้ช่วงเริ่มต้นทำงานใหม่ ๆ นี่ จะมีประกันสะสมทรัพย์ซะเยอะ แล้วก็พวกบัญชีฝากออมทรัพย์พิเศษดอกเบี้ยสูงบ้าง
พอถึงวันนี้ย้อนไปกลับไปดูตัวเองอีกที ก็บอกกับตัวเองว่า เรานี่มาไกลจากจุดเดิมเหมือนกันแฮะ เลยมาวิเคราะห์ดูว่า จุดเปลี่ยน ที่ทำให้ตัวเองสามารถรับความเสี่ยงได้มากยิ่งขึ้น มันมีลำดับขั้นตอนยังไง เลยขอมาแชร์ซักหน่อย
ห่างหายไปนานเลยกับบทความใน Category Blog พอดีเมื่อวันก่อนผมรีวิวแผนการเงินของตัวเองสำหรับค่าใช้จ่ายลูก (ปัจจุบันอายุ 3 เดือน 👶🏻) โดยมีรายได้ส่วนนึงมาจากสิทธิสวัสดิการประกันสังคม คือ ค่าคลอดบุตร 15,000 บาทและ กรณีสงเคราะห์บุตร เดือนละ 800 บาท (ซึ่งจะได้รับจนถึงอายุ 6 ปี)
ซึ่งผมเองได้ทำเรื่องเบิกสิทธินี้ตั้งแต่เดือนแรกที่ลูกเกิดเลย และคิดว่าจะนำเงินนี้มาลงทุนเพื่อให้เค้าในอนาคต
[หมายเหตุ : ในบทความนี้มีการกล่าวถึงชื่อกองทุนเพียงเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่ได้เป็นการชี้นำว่าเป็นกองทุนที่ควรเข้าซื้อหรือไม่ควรเข้าซื้อแต่อย่างใด]
เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดคุยกันบ่อยครั้งว่า เลือกกองปันผล หรือกองไม่ปันผลดี เรียกได้ว่า ติดแฮชแท็ก แบ่งทีมกันได้เลย
เลยอยากจะมาชวนกันดูซักหน่อยว่า กองทุน 2 ลักษณะนี้ มันแตกต่างกันยังไง มีเรื่องอะไรที่เราควรพิจารณาก่อนซื้อบ้าง
วันนี้ได้อ่านหนังสือการเงินเล่มนึงระหว่างเดินทางไปต่างจังหวัด มีอยู่ช่วงนึงที่หนังสือเล่มนี้เขียนประมาณว่า การเงินเป็นเรื่องสำคัญ และเป็นเรื่องที่โรงเรียนไม่มีสอน
ผมเลยคิดว่าถ้าลูกหลานของเรา ไม่สามารถเรียนเรื่องการเงินที่โรงเรียนไม่ได้ แต่ลูกหลานของเรา สามารถเรียนเรื่องการเงินนอกโรงเรียนได้ ซึ่งที่ ๆ เหมาะที่จะเริ่มเรียนเรื่องการเงินมากที่สุด ก็คือ ที่บ้าน นั่นเอง
วันนี้เลยอยากจะเขียนแนวทางการเรียนรู้ทางการเงิน ภาคปฏิบัติ (แบบฝึกหัด) ที่ผมคิดว่าน่าจะเหมาะสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 18
ห่างหายไปนานเลยกับ Series CFP Diary วันนี้ขอมาอัพเดทกันหน่อย เนื่องจากสัปดาห์ก่อนผมไปอบรมกับทาง บล.ฟิลลิป เพื่อสมัครเป็นตัวแทนขายหน่วยลงทุนอิสระ (กองทุนรวม) ซึ่งเครื่องมือหลักอีกเครื่องมือนึงในการวางแผนการเงินให้กับลูกค้า
เอาเข้าจริง ๆ ผมเพิ่งเริ่มต้นลงทุน ด้วยการซื้อกองทุนรวม มาได้ 1 ปี นิด ๆ โดยใช้เวลาศึกษาในเรื่องของกองทุนรวมประมาณ 3 – 4 เดือน แล้วเริ่มจัดพอร์ต และ 12 ข้อด้านล่างนี้เป็นข้อคิดที่ได้จากการลงทุนใน 1 ปีที่ผ่านมา
สัปดาห์ที่แล้วผมได้ไปอบรมสำหรับเตรียมสอบ IC เพื่อที่จะขอวุฒิผู้แนะนำการลงทุน (รายละเอียดจะเขียนแยกอีกทีใน CFP Diary) มีเนื้อหาอยู่ส่วนนึงน่าสนใจ และคิดว่าเหมาะกับหลาย ๆ คนที่กำลังจะเริ่มต้นลงทุน เนื้อหาส่วนนี้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจลงทุน เพื่อให้ผู้แนะนำการลงทุนนำไปใช้กับลูกค้า
แต่ผมคิดว่าเนื้อหาส่วนนี้สามารถให้ผู้ที่จะลงทุนทุกคนสามารถทำเองได้ และเป็นการวางรากฐานที่ดีสำหรับการเริ่มต้นที่จะลงทุนในตลาดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ทางการเงิน โดยกระบวนการตัดสินใจลงทุนนั้น จะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
หลังจากที่เขียน วิธีการซื้อกองทุนอย่างไร เพื่อลดความเสี่ยงไปเมื่อคราวก่อน วันนี้เลยอยากมาเขียนต่อว่าแล้วความเสี่ยงของพอร์ตเรา ณ ปัจจุบันนี้ มีความเสี่ยงขนาดไหน เราจะมีวิธีการประเมินอย่างไรได้บ้าง
ต้องขอบอกก่อนว่าวิธีการนี้ผมได้เรียนรู้มาจากการที่ไปเรียน Class DIY Portfolio และเป็นเนื้อหาส่วนนึงที่น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ลงทุนในกองทุนรวม จึงขอนำมาแชร์หน่อยล่ะกัน