Categories
Blog

ว่าด้วยเรื่องของกองทุนปันผล กับ กองทุนสะสมมูลค่า (ไม่ปันผล)

[หมายเหตุ : ในบทความนี้มีการกล่าวถึงชื่อกองทุนเพียงเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่ได้เป็นการชี้นำว่าเป็นกองทุนที่ควรเข้าซื้อหรือไม่ควรเข้าซื้อแต่อย่างใด]

เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดคุยกันบ่อยครั้งว่า เลือกกองปันผล หรือกองไม่ปันผลดี เรียกได้ว่า ติดแฮชแท็ก แบ่งทีมกันได้เลย

เลยอยากจะมาชวนกันดูซักหน่อยว่า กองทุน 2 ลักษณะนี้ มันแตกต่างกันยังไง มีเรื่องอะไรที่เราควรพิจารณาก่อนซื้อบ้าง

Categories
Blog

ซื้อ SSFX ดีไหม ? กองไหนดี ?

พรุ่งนี้จะเป็นวันแรกที่สามารถซื้อกองทุน SSFX ได้เบื้องต้นระยะเวลาในการซื้อคือ 1 เม.ย. – 30 มิ.ย. (ไม่รู้ว่าจะขยายเวลาอีกไหม)

ส่วนด้านล่างเป็นความเห็นส่วนตัวต่อการซื้อ SSFX นะครับส่วนรายละเอียดอื่น

Categories
CFP Diary

CFP Diary EP6 : การสอบ P2 ตราสารที่มีความซับซ้อน (ตราสารหนี้และกองทุน)

หลังจากอบรมฟิลลิปเสร็จปุ๊บ ช่วงหยุดยาวสงกรานต์ ผมก็เข้าเก็บตัวเพื่อเตรียมตัว P2 ตราสารที่มีความซับซ้อน ต่อเลย โดยผมได้ทำการจองสอบกับทางเว็บ AIMC ดูเหมือนว่าตารางสอบจะมีทุกวันพุธ-อาทิตย์ ค่าสมัครสอบอยู่ที่ 850 บาท โดยการสอบ P2 นั้นให้เวลาในการสอบทั้งหมด 40 นาที ข้อสอบทั้งหมด 25 ข้อ โดยมีเกณฑ์ผ่านคือ ทำถูกมากกว่า 70% ขึ้นไป

Categories
CFP Diary

CFP Diary EP5 : การสมัครเป็นตัวแทนซื้อขายกองทุนรวม บล.ฟิลลิป

ห่างหายไปนานเลยกับ Series CFP Diary วันนี้ขอมาอัพเดทกันหน่อย เนื่องจากสัปดาห์ก่อนผมไปอบรมกับทาง บล.ฟิลลิป เพื่อสมัครเป็นตัวแทนขายหน่วยลงทุนอิสระ (กองทุนรวม) ซึ่งเครื่องมือหลักอีกเครื่องมือนึงในการวางแผนการเงินให้กับลูกค้า

Categories
Blog

ค่าใช้จ่ายรายปี กับ กองทุนรวมตลาดเงิน

ผมเชื่อว่าหลาย ๆ คน มีค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายในทุก ๆ ปี เช่น ค่าส่วนกลางหมู่บ้าน/คอนโด ค่าเบี้ยประกันชีวิต ค่าประกันภัยรถยนต์ ค่าตรวจสุขภาพ ฯลฯ ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้ ถึงแม้ว่าเรารู้ล่วงหน้าว่าจะต้องจ่ายในเดือนไหน แต่ในบางครั้งมันจะเหตุการณ์ที่แบบว่า พอใกล้ ๆ จะจ่ายแล้ว “เฮ้ย จะเอาจากที่ไหนมาจ่ายดี” หรือจ่ายไปแล้วอาจจะต้องทำให้เราอยู่อย่างประหยัดสุด ๆ ในเดือนนั้น เป็นต้น โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่มีมูลค่ามากกว่า 50% ของรายรับในเดือนนั้น

Categories
Blog

12 บทเรียน จากการลงทุนกองทุนรวม 12 เดือน

เอาเข้าจริง ๆ ผมเพิ่งเริ่มต้นลงทุน ด้วยการซื้อกองทุนรวม มาได้ 1 ปี นิด ๆ โดยใช้เวลาศึกษาในเรื่องของกองทุนรวมประมาณ 3 – 4 เดือน แล้วเริ่มจัดพอร์ต และ 12 ข้อด้านล่างนี้เป็นข้อคิดที่ได้จากการลงทุนใน 1 ปีที่ผ่านมา

Categories
Blog

เปรียบเทียบ แบบประกันตลอดชีพ กับ แบบประกันชั่วระยะเวลา+ลงทุนในกองทุนรวม

เมื่อวานนี้เขียนถึงเรื่องการซื้อประกันให้ถูกวัตถุประสงค์โดยเปรียบเทียบ ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลากับประกันชีวิตแบบตลอดชีพ วันนี้เลยอยากมาเปรียบเทียบกันให้ดูหากว่า เราใส่เงินจำนวนที่เท่ากัน ระหว่าง

(1) การซื้อประกันตลอดชีพ กับ
(2) การซื้อประกันแบบชั่วระยะเวลา (TERM) + กับนำเงินส่วนต่างไปซื้อกองทุนรวม

แบบไหนมีข้อดี ข้อเสีย อย่างไร โดยผมขอนำค่าเบี้ยประกัน เพศชาย อายุ 35 ปี ของบริษัทที่ผมเป็นตัวแทนอยู่มาแสดงเทียบกันล่ะกัน โดยโจทย์คือ

หากต้องการความคุ้มครอง 20 ปี ที่ทุนประกัน 1,000,000 บาท และมีเงินมรดกไว้ให้ลูกหลาน 1,000,000 บาท เมื่อตนเองเสียชีวิต (เมื่ออายุ 90 ปี หรือก่อนถึงอายุ 90 ปี)

เรามาดูกันว่าแต่ละแบบมีรายละเอียดยังไง

Categories
Blog

พอร์ตกองทุนเราเสี่ยงแค่ไหน ? รับได้ไหม ?

หลังจากที่เขียน วิธีการซื้อกองทุนอย่างไร เพื่อลดความเสี่ยงไปเมื่อคราวก่อน วันนี้เลยอยากมาเขียนต่อว่าแล้วความเสี่ยงของพอร์ตเรา ณ ปัจจุบันนี้ มีความเสี่ยงขนาดไหน เราจะมีวิธีการประเมินอย่างไรได้บ้าง

ต้องขอบอกก่อนว่าวิธีการนี้ผมได้เรียนรู้มาจากการที่ไปเรียน Class DIY Portfolio และเป็นเนื้อหาส่วนนึงที่น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ลงทุนในกองทุนรวม จึงขอนำมาแชร์หน่อยล่ะกัน

Categories
Blog

ซื้อกองทุนรวมอย่างมีระดับ เพื่อลดความเสี่ยง

“การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนโปรดศึกษาข้อมูลก่อนการลงทุน”

ประโยคคุ้นหูที่เราได้ยินกันบ่อย ๆ ซึ่งผมเองก็พยักหน้า หงึก ๆ เห็นด้วยว่าความเสี่ยงนั้นมีจริง แต่ความเสี่ยงสามารถลดได้ด้วยการกระจายความเสี่ยงเหมือนกัน ดั่งประโยคยอดฮิตอีกประโยค

 

“อย่าใส่ไข่ไว้ในตะกร้าใบเดียว”

วันนี้เลยอยากจะแชร์วิธีการจัดพอร์ตการลงทุนพื้นฐาน เพื่อลดความเสี่ยงกันซักหน่อย ซึ่งจะสร้างความสมดุลของพอร์ตเราเพิ่มขึ้น เรียกได้ว่าเป็นการกระจายความเสี่ยงอย่างมีระดับ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ระดับ ตามนี้

Categories
Blog

มีเงินเหลือเก็บ โปะบ้านดี หรือซื้อกองทุนรวมดี

การกู้เงินเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่คนส่วนใหญ่ต้องพบเจอ และก็ใช้เวลาไม่น้อยเลยในการที่จะผ่อนให้หมด ทีนี้หากเราจัดสรรเงินได้ลงตัว และเหลือเงินเก็บส่วนหนึ่ง คำถามหนึ่งมักจะผุดขึ้นมาคือ

“เราจะเอาเงินส่วนนี้ ไปทำอะไรดี ระหว่างล้างหนี้กับลงทุน”

วันนี้เลยอยากจะมาแชร์ไอเดีย ว่าเมื่อมีเงินเหลือส่วนนึง แล้วเราจะเอาเงินส่วนนี้ไปทำอะไรดี

อย่างแรกสุดเลย ผมคิดว่า หากเรายังไม่มีเงินสำรองฉุกเฉินสำหรับกินอยู่ใช้จ่าย 3-6 เดือน ให้นำเงินส่วนนี้สะสมจนครบก่อน จากนั้น ค่อยมาดูกันต่อไปว่าจะจัดการยังไงต่อ

 

แต่ถ้าเรามีเงินสำรองเก็บไว้มากพอให้อุ่นใจแล้ว ก็มาดูกันต่อว่าจะนำเงินส่วนนี้ มาโปะหนี้บ้านดี หรือไปซื้อกองทุนรวมดี