Disclaimer
ในสัปดาห์ต้นเดือนพฤษภา 2022 เริ่มคำว่า วิกฤต โผล่ขึ้นมาแล้ว เลยไปลองเปิด index ใหญ่ ๆ ดู ในฝั่งสหรัฐฯ พบว่าก็มีการปรับตัวลงมากพอสมควร จาก All Time High ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา
Disclaimer
ในสัปดาห์ต้นเดือนพฤษภา 2022 เริ่มคำว่า วิกฤต โผล่ขึ้นมาแล้ว เลยไปลองเปิด index ใหญ่ ๆ ดู ในฝั่งสหรัฐฯ พบว่าก็มีการปรับตัวลงมากพอสมควร จาก All Time High ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา
การสอบ CFP Paper นี้สำหรับผมถือว่าเป็นการสอบที่เว้นช่วงยาวมาก
เพราะตั้งแต่อบรมไปตอนเดือน ต.ค. 63 เพิ่งจะได้มาเขียนก็วันนี้แหล่ะ
ขอเล่าเริ่มต้นจากการอบรมกันก่อนเหมือนเช่นเคยนะครับ โดยรอบนี้ผมเลือกอบรมกับ CMSK
Post ขอหยิบเรื่องราวส่วนตัวมาเล่าหน่อย เกี่ยวกับแนวคิด แนวทางการวางแผนการเงินของตัวเองในส่วนของลูกชาย (เซน) ซึ่งอาจจะไม่ใช่ Best Practice แต่ก็คิดว่าน่าจะให้มุมคิดอะไรได้บ้าง ไม่มากก็น้อย กับคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ หรือ ไม่ก็ว่าที่คุณพ่อคุณแม่ล่ะกันครับ 🙂
ห่างหายไปนานเลยกับบทความใน Category Blog พอดีเมื่อวันก่อนผมรีวิวแผนการเงินของตัวเองสำหรับค่าใช้จ่ายลูก (ปัจจุบันอายุ 3 เดือน 👶🏻) โดยมีรายได้ส่วนนึงมาจากสิทธิสวัสดิการประกันสังคม คือ ค่าคลอดบุตร 15,000 บาทและ กรณีสงเคราะห์บุตร เดือนละ 800 บาท (ซึ่งจะได้รับจนถึงอายุ 6 ปี)
ซึ่งผมเองได้ทำเรื่องเบิกสิทธินี้ตั้งแต่เดือนแรกที่ลูกเกิดเลย และคิดว่าจะนำเงินนี้มาลงทุนเพื่อให้เค้าในอนาคต
สวัสดีวันสิ้นเดือนแรกของปี 🙂
วันนี้ขอเขียน practice การวางแผนการเงินส่วนตัวหน่อย ว่าทำอะไรไปบ้าง ในเดือนแรกของปี
ระยะหลังมาผมได้อ่าน report การคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัวใน 10 – 20 ปีข้างหน้านี้ ซึ่งหลาย ๆ ที่ก็วิเคราะห์กันว่าจะก่อให้เกิดปัญหาสังคมในหลาย ๆด้าน
แต่ส่วนตัวผมเองกลับคิดว่า หากเราเตรียมความพร้อมกันที่จะเป็น ผู้สูงวัยที่มีคุณภาพ ก็น่าลดความรุนแรงของปัญหาสังคมผู้สูงอายุได้
ที่นี้ในความเห็นผม การที่จะเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพนั้น ควรจะเป็นยังไง และมีแนวทางอย่างไรบ้าง (ซึ่งแน่นอน ต้องมีเรื่องของการวางแผนการเงินมาเป็นส่วนประกอบ)
ตั้งแต่สอบ CFP Paper 1 เสร็จตั้งแต่ พ.ย. ปีที่แล้ว หลังจากนั้นก็หยุดสอบไปยาวเลย เพราะเข้าหลักสูตรอบรมเพื่อเป็นนักวางแผนการเงินของทีม Avenger Planner (ตอนนี้อยู่ในช่วงเป็น Assistant Planner หรือผู้ช่วยนักวางแผนการเงิน นั่นเอง)
เนื่องจากการจะเป็น Planner ของทีมนั่น มีคุณสมบัติข้อหนึ่งที่จำเป็นต้องมีคือ ใบอนุญาตวางแผนการลงทุน หรือ IP ซึ่งจะได้มาการสอบผ่านเกณฑ์ P1 P2 P3 และ CFP Paper 1 และ 2 ถึงจะสามารถขึ้นทะเบียนขอใบอนุญาตได้
ในส่วนของการสอบ Paper 2 นั่นจะเป็นเรื่องของการวางแผนการลงทุน ซึ่งหากมี IC License หรือเป็นใบอนุญาตแนะนำการลงทุน ก็สามารถเวฟไม่เข้าอบรมได้ (แต่ยังคงต้องสอบอยู่นะ) แต่ว่าผมเลือกที่จะเข้าอบรมดีกว่า
วันนี้ได้อ่านหนังสือการเงินเล่มนึงระหว่างเดินทางไปต่างจังหวัด มีอยู่ช่วงนึงที่หนังสือเล่มนี้เขียนประมาณว่า การเงินเป็นเรื่องสำคัญ และเป็นเรื่องที่โรงเรียนไม่มีสอน
ผมเลยคิดว่าถ้าลูกหลานของเรา ไม่สามารถเรียนเรื่องการเงินที่โรงเรียนไม่ได้ แต่ลูกหลานของเรา สามารถเรียนเรื่องการเงินนอกโรงเรียนได้ ซึ่งที่ ๆ เหมาะที่จะเริ่มเรียนเรื่องการเงินมากที่สุด ก็คือ ที่บ้าน นั่นเอง
วันนี้เลยอยากจะเขียนแนวทางการเรียนรู้ทางการเงิน ภาคปฏิบัติ (แบบฝึกหัด) ที่ผมคิดว่าน่าจะเหมาะสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 18
ช่วงนี้ได้ฟังเรื่องราวจากหลายคน (และได้พูดคุยกับบางคน) ที่อยากจะ Early Retire คือไม่อยากทำงานแล้ว อยากหยุดออกมาหาอะไรทำเล็ก ๆ น้อย ๆ และผมก็มักจะมีคำถามเหล่านี้อยู่ในใจ บางคนสามารถถามได้ก็ถามไป เพื่อให้เค้าได้ลองทบทวนตัวเองอีกซ้ำ ๆ และสร้างความมั่นใจเพิ่มขึ้นว่า เค้ามีแผนพร้อมแล้วจริง ๆ ใช่ไหมที่จะ Early Retire
ใครที่มีความคิดที่อยากจะ Early Retire อยากให้ลองตรอง ตอบคำถามเหล่านี้ดู
หากคุณเป็นคนนึงที่ไม่ชอบประกันเอาซะเลย ไม่เห็นจะต้องทำประกันเลย ผมแอบเห็นด้วยกับคุณส่วนนึงว่า ไม่ใช่ทุกคนที่ต้องทำประกัน ในเมื่อเรา…